People and Government
บรรดานักเรียน นักศึกษาต้องการการศึกษารูปแบบใหม่ เพื่อรับมือกับความท้าทายที่เกิดจากเทคโนโลยีพลิกโฉม
สิ่งที่เรียกว่า เทคโนโลยีผลิกโฉมกำลังเปลี่ยนแปลงเกือบทุกอุตสาหกรรม ซึ่งหมายถึงประเทศไทยต้องการวิธีการศึกษาที่เป็นนวัตกรรมมากขึ้น หากเยาวชนของเราต้องเผชิญกับความท้าทายใหม่ในที่ทำงานดร.สันติธาร เสถียรไทย ตำแหน่ง Group’s chief economist จากบริษัท Sea Group อ้างถึงการค้นพบล่าสุดจากการสำรวจด้วยแพลตฟอร์มอินเทอร์เน็ตชั้นนำของบริษัทที่เกี่ยวกับเยาวชน และผู้ประกอบการทั้งในประเทศไทย และประเทศอาเซียนอื่น ๆ พบว่า ภาคธุรกิจ รัฐบาล มหาวิทยาลัยและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ จะต้องทำงานร่วมกันในโครงการการศึกษาสำหรับเยาวชนในยุคประเทศไทย 4.0อ่านต่อ ...
นพคุณ ลิ้มสมานพันธ์
มหาวิทยาลัยไทยยังคงต้องดิ้นรนต่อไป
ในปี 2562 จะเป็นปีที่ท้าทายสำหรับมหาวิทยาลัยไทยกว่า 300 แห่ง เนื่องจากต้องต่อสู้กับความท้าทายหลักสองประการ สิ่งแรกมาจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศซึ่งประเทศไทยกำลังเผชิญกับความท้าทายด้านประชากรศาสตร์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน โดยประชากรจะมีอายุมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่อัตราการเกิดยังคงลดลงอ่านต่อ ...
ดำรงเกียรติ มาลา
มาตรการเชิงรุกที่จำเป็นในการรับมือกับสังคมผู้สูงอายุ
ตลาดแรงงานของประเทศไทยจะซบเซาภายใต้ประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น หากไม่ได้มีการแก้ปัญหาในทางปฏิบัติในเร็ววันนี้ปัจจุบันคนไทยมากกว่าร้อยละ 16 มีอายุมากกว่า 60 ปี ซึ่งเป็นอายุเกษียณสำหรับข้าราชการ และทหาร ขณะที่ในภาคเอกชนบางบริษัท ต้องการให้พนักงานเกษียณอายุเมื่ออายุ 55 ปีอ่านต่อ ...
จุฬารัตน์ แสงปัสสา
ประยุทธ์รับประกันการเลือกตั้งไม่เปลี่ยน ทำตามแผนเดิม
เมื่อวานนี้พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรียืนยันว่าโร้ดแมพการเลือกตั้งระดับชาติยังคงไม่เปลี่ยนแปลง โดยไม่ต้องสนใจข้อเสนอแนะที่ว่ารัฐบาลทหารจะเลื่อนการเลือกตั้ง เพื่อหลักทางให้กับพิธีราชาภิเษก ซึ่งเป็นความคิดของดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ และม.จ.จุลเจิม ยุคล ว่าการเลือกตั้งที่รอคอยมานานควรจัดหลังพิธีราชาภิเษก ซึ่งสำนักพระราชวังประกาศในวันอังคารที่ผ่านมาว่าพิธีราชาภิเษกจะจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 4 พฤษภาคมถึง 6 พฤษภาคม นี้อ่านต่อ ...
Kas Chanwanpen
ประชาชนต่างจับจ้องการปลดล็อคกัญชาเพื่อการแพทย์
สาธารณะชนต่างจับจ้องรายละเอียดทุกอย่างที่เกี่ยวกับการปลดล็อคกัญชาเพื่อการแพทย์ เพื่อหยุดยั้งไม่ให้บริษัทยารายใหญ่ผูกขาดตลาด และทำให้ผู้ป่วยเสียเปรียบในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมามีสัญญาณเชิงบวกมากมายที่แสดงว่าการใช้กัญชาเพื่อการแพทย์จะได้รับการรับรองในประเทศไทยในไม่ช้า รัฐบาล และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ประกาศว่าพวกเขาจะออกกฎหมายกัญชาเพื่อการแพทย์ให้เป็นของขวัญปีใหม่สำหรับคนไทย และทางสนช. ได้อนุมัติการแก้ไขพ.ร.บ. ยาเสพติดอย่างเป็นทางการ ซึ่งอนุญาตให้ผู้ป่วยใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้อ่านต่อ ...
ปรัชญ์ รุจิวนารมย์
สิทธิการแต่งงานอย่างเท่าเทียม ยังคงเป็นแค่ความฝัน
ยังไม่มีการยืนยัน 100 เปอร์เซ็นต์ว่าพระราชบัญญัติคู่ชีวิตจะกลายเป็นกฎหมายในปีนี้ และแม้ว่าจะผ่านกระบวนการทางกฎหมาย และมีการบังคับใช้ในที่สุด แต่ยังไม่มีการรับประกันว่าจะให้สิทธิการแต่งงานที่เท่าเทียมกันสำหรับคู่รักเพศเดียวกันอ่านต่อ ...
ปรัชญ์ รุจิวนารมย์
ประเทศไทยส่งเสริมระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียว (ASW) สำหรับการค้าชายแดน
ในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล ภายในภูมิภาคอาเซียน ประเทศสมาชิกจะต้องร่วมมือกันในการบังคับใช้ ระบบศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียว (ASW) สำหรับทั้ง 10 ประเทศในกลุ่มการค้าภายในสิ้นปีหน้าอ่านต่อ ...
ภูวิศ ลิมวิภูวัฒน์
พรรคการเมืองต่างเสนอนโยบายประชานิยม
ยุคของประชานิยม (ใหม่) หรือ neo-populism ได้เกิดขึ้นแล้วในประเทศไทย โดยมีพรรคการเมืองไม่น้อยกว่า 4 พรรคการเมืองที่ต่างชูนโยบายรัฐสวัสดิการในการเลือกตั้งครั้งหน้าที่มีกำหนดในวันที่ 24 กุมภาพันธ์นี้ พรรคพลังประชารัฐ ซึ่งมีผู้นำพรรคเป็นสมาชิกในคณะรัฐมนตรีของพลเอกประยุทธ์ที่เป็นผู้นำในศึกประชานิยมจากโครงการบัตรสวัสดิการของรัฐ ซึ่งมีสมาชิกที่มีรายได้ต่ำมากกว่า 14 ล้านคนอ่านต่อ ...
นพคุณ ลิ้มสมานพันธ์
เหตุใดทักษะภาษาอังกฤษของประเทศไทยจึงต่ำที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้? หรือต้องโทษระบบการศึกษา
ตั้งแต่ฉันย้ายมายังประเทศไทย เมื่อสิบปีที่แล้ว ฉันได้อ่านรายงานที่ระบุว่าประเทศไทยมีมาตรฐานทักษะภาษาอังกฤษต่ำที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และในปีที่ผ่านมาได้มีการปรับปรุงขึ้นเล็กน้อย แต่ในฐานะอดีตอาจารย์ ความจริงนั้นไม่ได้ทำให้ฉันประหลาดใจเลย แม้หลังจากผ่านไป 12-15 ปีในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ มีคนไทยเพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่สามารถสนทนาเป็นภาษาอังกฤษในระดับที่มากกว่าพื้นฐานได้ และบางคนก็ไม่สามารถทำได้อ่านต่อ ...
มหาวิทยาลัยต้องเจอความท้าทายที่เกิดจากเทคโนโลยี และประชากร
ในปีที่กำลังจะมาถึงนี้จะเป็นปีที่ท้าทายสำหรับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย เนื่องจากอัตราการเกิดที่ลดลง การผลิกโฉมทางเทคโนโลยี และความต้องการที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของนักศึกษาและนายจ้าง ตลอดจนผู้เข้ารับการศึกษาไม่มีอีกแล้วที่ผู้สมัครเข้ามหาวิทยาลัยจำนวนมากแย่งที่นั่งว่างเพื่อเข้ามหาวิทยาลัย แม้ว่าผู้สำเร็จการศึกษาในระดับมัธยมปลายจะถูกปฏิเสธจากสาขาที่พวกเขาต้องการ แต่ยังมีโอกาสอันเหลือเฟือในมหาวิทยาลัยอื่นอ่านต่อ ...
จุฬารัตน์ แสงปัสสา