Gender

กระแสตลาดดิจิตอลโดยผู้หญิง

ตามรายงานของ Global Gap Report ปี 2020 โดย World Economic Forum (WEF) ระบุว่าภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิกต้องใช้เวลามากถึง 163 ปี ในการเข้าถึงความเท่าเทียมทางเพศในอัตราจากปัจจุบัน ซึ่งนับเป็นเวลาโดยประมาณที่ยาวนานที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับภูมิภาคอื่นรวมถึงตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือ (140 ปี) และเอเชียใต้ (71.5 ปี)อ่านต่อ ...

Jillian Louis

คะแนนของรัฐบาลด้านความเท่าเทียมกันทางเพศอยู่ในระดับต่ำ

รัฐบาลได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก จากการจำกัดการเข้าถึงความยุติธรรม และปิดกั้นสิทธิในการแสดงออกของนักเคลื่อนไหวสตรี โดยเหล่านักเคลื่อนไหวกล่าวว่า รัฐบาลยังคงมีส่วนร่วมในการดำเนินการดังกล่าว แม้จะมีการรับรองอนุสัญญาที่มีผลผูกพันทางกฎหมายในการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (Cedaw) เมื่อสามปีที่แล้วอ่านต่อ ...

ธนา บุญเลิศ

ผู้หญิงยังคง 'ด้อย' ในแวดวงการเมือง

หญิงสาวในแวดวงการเมืองยังคงถูกดูหมิ่นว่าขาดประสบการณ์ ในขณะที่ความสามารถในการแสดงบทบาทมักถูกตั้งคำถาม คือหนึ่งในประเด็นสำคัญภายในงานสัมมนาที่จัดขึ้นโดยสมาคมนักข่าวไทยดร.รัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีกล่าวในงานอภิปรายว่าทางรัฐสภาได้แต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อดำเนินการในประเด็นด้านการส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศอ่านต่อ ...

เพ็ญจันทร์ เจริญสุทธิพันธ์

นักกิจกรรม LGBT เดินหน้าเพื่อความเท่าเทียมในการสมรสระหว่างบุคคลเพศเดียวกัน

เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา นักเคลื่อนไหว LGBT ได้ยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญในการเสนอเพื่อเปลี่ยนกฎหมายที่จำกัดการแต่งงานระหว่างชายและหญิง ซึ่งเป็นความพยายามที่จะบรรลุความเท่าเทียมกันด้านการสมรสในภูมิภาคเอเชียโดยนักเคลื่อนไหวได้ กล่าวถึง คำจำกัดความของการสมรสในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของประเทศไทย ซึ่งเกี่ยวข้องกับสิทธิส่วนบุคคลขัดต่อรัฐธรรมนูญที่ระบุว่า “ทุกคนมีความเสมอภาคกันตามกฎหมายและจะมีสิทธิและเสรีภาพและได้รับการคุ้มครองอย่างเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย” อ่านต่อ ...

อาเซียนต้องการผู้หญิงมากขึ้นในภาคพลังงาน

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาของบทบาทความเป็นผู้นำของสตรีฟิลิปปินส์ เวียดนาม และสิงคโปร์ มีจำนวนผู้หญิงที่ดำรงตำแหน่งผู้บริหารระดับสูงมากที่สุด ตามรายงาน Women in Business’ ของ Grant Thornton ในปี พ.ศ.2562  แต่อย่างไรก็ตามจำนวนผู้หญิงได้ลดลงตามตำแหน่งที่เติบโตขึ้นอ่านต่อ ...

Liyana Hasnan

คนไทยมีปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศ

ในการสำรวจล่าสุดในคนไทย 1,107 คน โดย YouGov หน่วยงานวิจัยการตลาดในสหราชอาณาจักร พบว่า ร้อยละ 21 ของผู้ตอบแบบสอบถามกล่าวว่า พวกเขาต่างประสบกับการล่วงละเมิดทางเพศ การข่มขืน เป็นรูปแบบที่พบบ่อยที่สุดของการล่วงละเมิดทางเพศที่รายงานโดยผู้ตอบแบบสอบถาม (ร้อยละ 44) อันดับที่สอง คือ การแสดงความคิดเห็นด้วยวาจาเกี่ยวกับธรรมชาติทางเพศ (ร้อยละ 42) และการพูดลวนลาม (ร้อยละ 35) โดย YouGov กล่าวว่า คำจำกัดความของการล่วงละเมิดทางเพศในแต่ละรูปแบบถูกทิ้งให้อยู่ในรูปแบบปลายเปิดและขึ้นอยู่กับผู้ตอบแบบสอบถามอ่านต่อ ...

สิทธิลาคลอดของพ่อในอาเซียน

หลักสากลที่ว่าแม่คือคนที่ต้องดูแลลูก แต่ก็มีพ่อจำนวนมากที่สละเวลาเพื่อดูแลลูกน้อยที่เพิ่งลืมตาดูโลกและคู่ครองของตนภายหลังจากการคลอดบุตรได้ โดยหลายประเทศทั่วโลกกำลังกำหนดมาตรฐานสำหรับนโยบาย เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของผู้ชายในการเป็นพ่อแม่ โดยเน้นไปสิทธิลาคลอดของพ่ออ่านต่อ ...

นักรณรงค์ LGBT เรียกร้องต่อคณะกรรมการคุ้มครองสิทธิ

นักรณรงค์และนักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิของ LGBT ได้ยื่นคำร้องต่อคณะกรรมการสภาผู้แทนราษฎร เพื่อนำไปสู่การพิจารณาเรื่องการคุ้มครองทางเพศ โดยคำร้องถูกส่งไปยังนางสาวธนิกานต์ พรพงษาโรจน์ โฆษกของคณะกรรมการที่รับผิดชอบในการร่างกฎเกณฑ์ในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรอ่านต่อ ...

เอกราช สัตบุรุษ

บทบาทของผู้หญิงในภาคกฎหมายหนทางสู่ความเท่าเทียมกันทางเพศ

ในสังคมสมัยใหม่ อาจคาดไม่ถึงว่าจะเกิดปัญหาในความไม่เท่าเทียมกันทางเพศ  แต่ในความเป็นจริงแล้วปัญหานี้เกิดขึ้นในหลากหลายอาชีพ รวมถึงภาคกฎหมาย ล่าสุดคณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตอบโต้โดยการจัดสัมมนา เพื่อสร้างความตระหนักในประเด็นนี้ดูต่อ ...

การปกป้องสิทธิของ 'เพศที่สาม' ของประเทศไทย

ช่วงเวลาเกณฑ์ทหารประจำปีถูกจัดขึ้นทั่วประเทศจนถึงวันที่ 12 เมษายนนี้ และสมาชิกของมูลนิธิเครือข่ายเพื่อนกะเทยเพื่อสิทธิมนุษยชน มีภารกิจในการจัดหาข้อมูลทั้งหมดเพื่อเตรียมรับโอกาสนี้อ่านต่อ ...

จุฬารัตน์ แสงปัสสา

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

HSjW7
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!