Environment and land

รายงานพิเศษ: นิติวิทยาศาสตร์สัตว์ป่าจะเป็นกระบอกเสียงใหม่ ให้สัตว์ป่าที่ถูกล่าอย่างผิดกฎหมาย

ดร.กณิตา อุ่ยถาวร หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการนิติวิทยาศาสตร์สัตว์ป่า รู้สึกตกใจในครั้งแรกเมื่อเห็นบรรดาสัตว์จำนวนหลากหลายสายพันธ์ุ ซึ่งมีหลายชนิดที่เธอยังไม่รู้จักถูกขายในตลาดท้องถิ่นทางภาคเหนือ เมื่อหลายปีก่อนเมื่อเธอเพิ่งเข้าทำงานกับกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืชอ่านต่อ ...

ปิยะพร วงศ์เรือง

ประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมอาเซียนเห็นชอบข้อเสนอในการผลักดันความร่วมมือแก้ปัญหา IUU ระดับภูมิภาค

พล.ต.คงชีพ ตันตระวาณิชย์ โฆษกกระทรวงกลาโหม เปิดเผยผลการประชุมว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมอาเซียนเห็นด้วยกับข้อเสนอของไทยในการที่ชุมชนจะเพิ่มความร่วมมือในระดับภูมิภาคในการต่อสู้กับการทำประมงที่ผิดกฎหมาย การประมงที่ขาดการรายงาน และการประมงที่ขาดการควบคุม (IUU) อ่านต่อ ...

วาสนา นาน่วม

ธรรมศาสตร์เปิดโปรแกรมพัฒนานักศึกษาสู่อีอีซี

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ต้องการยกระดับคุณภาพของนักศึกษาระดับปริญญาตรี เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษามีความพร้อมสำหรับการทำงานในโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เมื่อวันพุธที่ 18 ตุลาคมที่ผ่านมามหาวิทยาลัยได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (FTI) เพื่อพัฒนาสาขาต่างที่เกี่ยวข้องกับอีอีซี เช่น นวัตกรรม เทคโนโลยี และทรัพยากรมนุษย์อ่านต่อ ...

ลมลเพ็ชร อภิสิทธิ์นิรันดร์

ประเทศไทยเปิดตัวโมเดล EMC3 เพื่อผลักดันอุตสาหกรรมไมซ์ (MICE) ในอีอีซี และจัดตั้งเขตเศรษฐกิจไมซ์ภาคตะวันออก เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทย

ในการผลักดันอุตสาหกรรมไมซ์ (MICE: Meetings, Incentive Travel, Conventions, Exhibitions) ของไทย และผลักดันอุตสาหกรรมเป้าหมาย 10 โครงการภายใต้โครงการประเทศไทย 4.0 เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล สำนักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ สสปน. ได้เปิดตัว “EMC3 Model” ซึ่งจะปูทางไปสู่ความสำเร็จ สำหรับการเพิ่มขึ้นของเขตเศรษฐกิจไมซ์ภาคตะวันออก (EMC) ในประเทศไทย ควบคู่ไปกับการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน International Media Familiarization Trip (IMFT 2018) ซึ่งสื่อมวลชนจากทั่วโลกได้รับเชิญให้มาร่วมเป็นสักขีพยานในความพร้อม และศักยภาพของไมซ์ในโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) ด้วยตาของตัวเอง การริเริ่มเชิงรุกเหล่านี้ไม่ใช่เพียงเพื่อดึงดูดนักลงทุนในภูมิภาคให้ลงทุนในอีอีซี แต่ยังทำให้ประเทศไทยกลายเป็นผู้นำของอุตสาหกรรมไมซ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อ่านต่อ ...

ผลประโยชน์เชิงบวกที่ได้รับจากการต่อสู้กับการประมงที่ผิดกฎหมาย

นับตั้งแต่ปี 2558 ประเทศไทยได้พยายามอย่างมากในการฟื้นฟูอุตสาหกรรมประมงทั้งหมด เพื่อที่จะป้องกันการทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU) ในประเทศไทย เพื่อให้เกิดความยั่งยืนของทรัพยากรทางทะเลความท้าทายของการประมงที่มากเกินไปได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างครอบคลุม โดยใช้มาตรการที่มีประสิทธิภาพหลายประการ ซึ่งรวมถึงการควบคุมเครื่องมือประมงที่มีขีดความสามารถในการจับสูง ห้ามใช้วิธีการประมงแบบทำลายล้าง การปิดอ่าวไทยตามฤดูกาลเพื่อให้สัตว์ทะเลสามารถวางไข่ และออกมาตรการการจำกัดการออกใบอนุญาตตามอัตราผลตอบแทนที่ยั่งยืนสูงสุดอ่านต่อ ...

ความล่าช้าในการยกระดับสถานะของเต่าทะเลที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์

อาจจะสายเกินไปที่จะช่วยไม่ให้เต่ามะเฟืองสูญพันธุ์ในท้องทะเลไทย เนื่องจากการหยุดชะงักของกฎหมายที่จะช่วยปกป้องยกระดับสถานะการอนุรักษ์ เพื่อปกป้องเต่าทะเลที่ใกล้สูญพันธุ์ และสัตว์ทะเลหายาก 3 ชนิดอ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

กรมปศุสัตว์เตือน หากไม่ดำเนินการลงทะเบียนและทำหมัน จำนวนแมวและสุนัขจรจัดจะทะลุ 2 ล้านตัวภายในปี 2570

กรมปศุสัตว์เตือนว่าสุนัขและแมวจรจัดจำเป็นต้องได้รับการจดทะเบียน และผ่านการทำหมันแล้ว มิฉะนั้นจำนวนประชากรสุนัขและแมวจรจัดจะถึง 2 ล้านตัว ภายในระยะเวลา 10 ปีนายสัตวแพทย์จีระศักดิ์ พิพัฒนพงศ์โสภณ. รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวในระหว่างการอภิปรายของคณะสัตวแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่า จากการประเมินจำนวนแมวและสุนัขจรจัดมีประมาณ 820,000 ตัวในปีที่แล้ว และจะถึง 2 ล้านตัวภายในปี 2570 และ 5 ล้านปีในระยะเวลา 20 ปี หากไม่มีอะไรเกิดขึ้น กรมพัฒนาและส่งเสริมสัตว์ปศุสัตว์อ่านต่อ ...

กรรวี ปัญญาศุภคุณ

กนอ.มุ่งเป้าเขตเศรษฐกิจพิเศษแห่งใหม่ในอำเภอสะเดาดูดเม็ดเงินลงทุนกว่า 2 หมื่นล้านบาท

นางสาวสมจิณณ์ พิลึก ผู้ว่าการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) มีความเชื่อมั่นในเขตเศรษฐกิจพิเศษแห่งใหม่ ในเอำเภอสะเดาจังหวัดสงขลาจะสามารถดึงดูดเงินลงทุนจำนวน 2 หมื่น ล้านบาท และสร้างงานได้ประมาณ 6,000 ตำแหน่งอ่านต่อ ...

ลมลเพ็ชร อภิสิทธิ์นิรันดร์

ราคาที่ชาวนาต้องจ่ายเพื่อโครงการอีอีซี

ความเห็นต่างจากการเวนคืนที่ดิน เพื่อเป็นพื้นที่สำหรับการพัฒนาโครงการอุตสาหกรรมจำนวนคนในเขตจังหวัดในโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) กำลังตกเป็นเหยื่อของการเวนคืนที่เพิ่มขึ้นและถือครองที่ดิน เนื่องจากนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ต่างล่าผืนดิน เพื่ออำนวยความสะดวกในการลงทุน และการพัฒนาอุตสาหกรรมอ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

รายงานพิเศษ: คุกคาม เอกลักษณ์วิถีชีวิตของทะเลสาบสงขลาตอนบน

ประตูป้องกันการลุกล้ำของน้ำทะเลของกรมชลประทาน ที่ถูกนำมาติดตั้งในคลองปากประ โดยปราศจากความรู้ของชาวบ้าน ซึ่งถือเป็นภัยคุกคามต่อวิถีชีวิต และเศรษฐกิจที่พอเพียงของชาวบ้านในละแวกนั้น ร่วมทั้งระบบนิเวศของทะเลสาบ“ลมนก” หรือลมตะวันออกเฉียงใต้ เริ่มพัดมาในประเทศส่งสัญญาณให้นางสำเหร่ เลอเอียดชาวนาวัย 64 ปี จากบ้านปากประ จังหวัดพัทลุง รีบไปยัง “นา เล” ซึ่งเอกลักษณ์ของเป็นทุ่งข้าวกึ่งน้ำท่วม บริเวณขอบบนของทะเลสาบสงขลา เพื่อเร่งทำการเก็บเกี่ยวข้าวก่อนที่ฝนจะตก และน้ำที่ไหลบ่าจากเทือกเขาบรรทัดจะมาถึงอ่านต่อ ...

ปิยะพร วงศ์เรือง

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

N63nW
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!