Environment and land
รมต.เกษตรฯ ยืนยันถึงความมุ่งมั่นที่จะลดการใช้สารเคมีอันตรายในหมู่เกษตรกร
นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยืนยันว่าเขาและนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ไม่เคยสนับสนุนการใช้สารเคมีอันตรายอย่างสารพาราควอต คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซตดูต่อ ...
จากจุดที่มืดมนสู่แสงสว่างในการทำประมง
นายนราธิป เพชรผ่องใส ปฏิบัติงานอยู่ที่หน้าจอเรดาร์ ณ ศูนย์ปฎิบัติการเฝ้าระวังการทําการประมง (FMC) โดยเขาชี้จุดเคลื่อนไหวบนจอเรดาร์ที่ระบุว่า เรือประมงอวนลากสองลำนั้นเข้าใกล้แนวปะการังเทียมมากเกินไปในเขตรัศมีสามไมล์ (4.8 กิโลเมตร)อ่านต่อ ...
Apiradee Treerutkuarkul
กรมการขนส่งทางบกเสนอ 7 มาตรการลดการปล่อย PM2.5
ในวันศุกร์ที่ผ่านมา กรมการขนส่งทางบกประกาศมาตรการใหม่ในการลดการปล่อยมลพิษจากยานพาหนะ โดยเป็นความพยายามในการควบคุมแหล่งสำคัญที่สร้างฝุ่นละออง PM2.5นายจิรุตม์ วิศาลจิตร อธิบดีกรมการขนส่งทางบก กล่าวว่า ทางกรมฯเตรียมเสนอ 7 มาตรการ เพื่อควบคุมและลดระดับ PM2.5อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
รัฐบาลกำลังดำเนินการ เพื่อรักษาพื้นที่ทำกินของเกษตรกร
การทำการเกษตรแบบดั้งเดิมในประเทศไทยมักประสบปัญหาภัยธรรมชาติบ่อยครั้ง ประกอบด้วยปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต่ำ ทำให้เกษตรกรหลายล้านคนมีรายได้ลดลง และต่างต้องเผชิญกับภาวะล้มละลาย เพื่อบรรเทาสถานการณ์ดังกล่าวรัฐบาลกำลังใช้กลยุทธ์ใหม่ เพื่อให้ผลผลิตทางการเกษตรอยู่รอดได้ดูต่อ ...
ไม่มีที่ดิน ไม่มีปลา: ชุมชนแม่น้ำโขงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยต้องต่อสู้กับภัยคุกคามซ้ำซ้อน
ชาวบ้านในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยกำลังสงสัยว่า ทำไมพวกเขาถึงถูกดำเนินคดี ในกรณีที่ทำการเกษตรบนที่ดินที่บรรพบุรุษส่งต่อให้พวกเขา“ถ้าผมสูญเสียที่ดิน ผมก็อยากตาย ผมไม่อยากจะมีชีวิตอยู่” นายฤทธิ์ จันทร์สุข วัย 50 ปี กล่าวด้วยเสียงอันสั่นเครือด้วยความรู้สึกเศร้าใจ ขณะที่เขามองดูที่ดินจำนวน 2 ไร่ (0.32 เฮกตาร์) ที่กำลังจะสูญเสียไปอ่านต่อ ...
การอนุรักษ์พะยูน และหญ้าทะเลในจังหวัดตรัง
การเสียชีวิตของพะยูนน้อยมาเรียมจากการกินเศษขยะพลาสติกบรเวณเกาะลิบง จังหวัดตรัง ทำให้เกิดความตระหนักถึงการอนุรักษ์พะยูน โครงการอนุรักษ์พะยูน และชาวบ้านพยายามหาแนวทางปกป้องพะยูน และแหล่งหญ้าทะเลในประเทศไทยอ่านต่อ ...
สุภาวดี วังศรี
หมอกควันข้ามพรมแดน: สิ่งเดิมพันบนภาวะที่กลืนไม่เข้าคายไม่ออกระดับภูมิภาค
คงไม่มีอะไรที่แปลกใหม่เกี่ยวกับปัญหาหมอกควันจากไฟป่าบนเกาะสุมาตราของอินโดนีเซียที่กลับมาเยือนมาเลเซีย สิงคโปร์ และภาคใต้ของไทยอีกครั้งในสัปดาห์ที่ผ่านมา ปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำเล่าในทุกปี นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2525 เป็นต้นมา ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพ เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยควันส่วนใหญ่เกิดจากความตั้งใจในการจุดไฟเพื่อเผาต้นปาล์มที่ตายแล้ว และเตรียมพร้อมสำหรับการปลูกครั้งใหม่บนเกาะสุมาตราและกาลิมันตันอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
ความร่วมมือคือกุญแจสำคัญของการยุติขยะพลาสติก
นายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมขอให้ผู้ค้าปลีกรายใหญ่ 43 ราย ผู้ผลิตพลาสติกรายใหญ่และห้างสรรพสินค้าชั้นนำหยุดส่งถุงพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวให้กับลูกค้า เริ่มเดือนมกราคมปีหน้า โดยทางกระทรวงต้องการเป็นผู้เปลี่ยนเกมในการรณรงค์เพื่อยุติขยะพลาสติกอย่างต่อเนื่องอ่านต่อ ...
Atiya Achakulwisut
ประกาศสงครามกับขยะพลาสติก
ในปี พ.ศ.2493 ทั่วโลกมีประชากรทั้งหมด 2.5 พันล้านคน ซึ่งประชากรจำนวนนี้ผลิตพลาสติกประมาณปีละ 1.5 ล้านตัน ตามรายงานของ Surfers Against Sewage ซึ่งเป็นหนึ่งในองค์กรการกุศลด้านสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของสหราชอาณาจักร และในปี พ.ศ.2559 ประชากรโลกเพิ่มขึ้นเป็น 7 พันล้านคน และประชากรจำนวนนี้ผลิตพลาสติกมากกว่า 320 ล้านตันต่อปี ซึ่งภายในปี พ.ศ.2577 หรืออีก 15 ปีนับจากนี้ คาดการณ์ว่าจำนวนดังกล่าวจะเพิ่มมากเป็นสองเท่าอ่านต่อ ...
อรุษา พิสุทธิพันธุ์
กรมเจ้าท่าประทับใจกับเทคโนโลยีแจ้งเข้า-ออกเรือประมงพาณิชย์ ผ่านระบบ ‘Single Window 4 Fishing Fleet’
ในบรรดาหน่วยงานภาครัฐที่ใช้เทคโนโลยีในการปรับปรุงบริการสาธารณะ และอำนวยความสะดวกในการทำธุรกิจ กรมเจ้าท่าดูเหมือนว่ามีผลงานมากที่สุด โดยได้รับรางวัลยอดเยี่ยมสาธารณะสำหรับการบริการสาธารณะที่จัดขึ้นในเดือนนี้โดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)โครงการแจ้งเข้า-ออกเรือประมงพาณิชย์ ผ่านระบบ “Single Window 4 Fishing Fleet” ของกรมมีบทบาทสำคัญในการตัดสินใจของสหภาพยุโรปในเดือนมกราคมนี้ที่จะถอนใบเหลืองจากประเทศไทย โดยตระหนักถึงความคืบหน้าของประเทศในการแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม (IUU) อ่านต่อ ...
Chatrudee Theparat