Environment and land
ประกาศเตือน 31 จังหวัดเตรียมรับมือภัยแล้ง
หน่วยงานราชการได้เตือนถึงการเตรียมรับมือกับภัยแล้งที่รุนแรงในพื้นที่ 31 จังหวัดในปีนี้ การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) เปิดเผยว่าภัยแล้งอาจส่งผลกระทบต่อโรงงานผลิตน้ำ 61 แห่งครอบคลุม 82 อำเภอ 31 จังหวัด โดยแบ่งเป็นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 15 แห่ง ภาคเหนือ 9 แห่ง ภาคใต้ 6 แห่งและภาคตะวันออก 1 แห่งซึ่งทาง กปภ.ได้เริ่มขุดบ่อน้ำบาดาล เพื่อเป็นแหล่งน้ำสำรองแล้วอ่านต่อ ...
อภิญญา วิภาตะโยธิน
เริ่มแล้ว! งดแจกถุงพลาสติกทั่วประเทศ
นายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ความสำคัญกับการลดปริมาณของถุงพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว โดยมีห้างสรรพสินค้า 75 ร้านสะดวกซื้อ และร้านค้าอื่น ๆ ที่มีมากกว่า 24,500 สาขาทั่วประเทศได้ตกลงหยุดการแจกถุงเหล่านี้ฟรี เริ่ม 1 มกราคมนี้ในขณะเดียวกันลูกค้าของห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่หลายแห่งกำลังบอกว่าไม่ให้ถุงพลาสติกส่วนหนึ่งเป็นเพราะการรับรู้ที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่งมีชีวิตในทะเลอ่านต่อ ...
อภิญญา วิภาตะโยธิน
จีนทดสอบเขื่อนจิ่งหง สทนช.หวั่นกระทบ 8 จังหวัดริมฝั่งแม่น้ำโขง
มีการประกาศว่า 8 จังหวัดริมฝั่งแม่น้ำโขงจะมีระดับน้ำลดลง ในระหว่างวันที่ 1-4 มกราคม เนื่องจากการทดสอบที่สถานีไฟฟ้าพลังน้ำจิงหงในมณฑลยูนนานของจีน ซึ่งคาดว่าจะทำให้การไหลของน้ำในแม่น้ำโขงลดลงตามที่สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) ระบุว่าในจังหวัดริมฝั่งแม่น้ำโขง เช่น เชียงราย เลย นครพนม หนองคาย มุกดาหาร บึงกาฬ อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี จะเห็นระดับน้ำลดลง เมื่อการทดสอบที่เขื่อนจิ่งหงเริ่มต้นขึ้นอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
กระทรวงเกษตรฯสรุปมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรปี’63 [วิดีโอ]
1 ใน 7 โครงการที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดไว้สำหรับปี พ.ศ.2563 เป็นมาตรการเกี่ยวกับการจัดการน้ำ เพื่อหลีกเลี่ยงภัยแล้ง พร้อมกับการดูแลเกษตรกรและชาวประมงดูต่อ ...
ธนาคารรัฐบาลในเอเชียกับการสานต่อความพยายามในการปลูกป่า
กลุ่มหมู่บ้านในเกาะกาลีมันตันของอินโดเนเชียปลูกสวนสวนไม้ฟืน เจ้าของที่ดินชาวเวียดนามปลูกต้นไม้ตามทุ่งนาในฐานะรั้วมีชีวิตและเป็นแหล่งของไม้ฟืน เกษตรกรชาวฟิลิปปินส์ปลูกต้นไม้ที่สามารถขายได้ในภายหลัง เพื่อให้โรงโม่แป้งนำไปทำเยื่อกระดาษ คนไร้ที่ดินในชนบทในรัฐเบงกอลตะวันตกอินเดียปลูก ดูแล และได้รับประโยชน์จากต้นไม้ที่ปลูกบนที่ดินของรัฐบาล ชาวบ้านในหุบเขา Chacon ของเนปาลปลูกตามทุ่งนาเพื่อกันลม และเป็นฟืน ชาวบ้านในประเทศไทยปลูกต้นไม้ที่ใช้เป็นอาหารอ่านต่อ ...
Dr. Michael A. Bengwayan
การสร้างผลิตภัณฑ์สีเขียวจากของเสียทางการเกษตรในประเทศไทย
ในหมู่บ้านของคุณจารุวรรณ คำเมือง มักจะมีการดผาเศษฟางที่เหลือจากการเก็บเกี่ยว ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ได้มองเห็นโอกาสในการสร้างผลิตภัณฑ์สีเขียวจากของเสีย – เช่นอุปกรณ์บนโต๊ะอาหารเป้าหมายโครงการ: ธุรกิจขนาดเล็ก ‘ฟางไทย’ กำลังค้นหาทางเลือกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อการบำบัดของเสียทางการเกษตร โครงการริเริ่ม SEED ส่งเสริมบริษัทขนาดเล็กที่ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกด้วยโซลูชั่นที่ยั่งยืน พร้อมสร้างโอกาสในการทำงานและมีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจในฐานะบริษัทเพื่อสังคมสีเขียวอ่านต่อ ...
หลายหน่วยงานจับมือร่วมพัฒนาฐานข้อมูลเกษตรกรกลาง
ฐานข้อมูลการเกษตรแห่งชาติ คือ ส่วนหนึ่งในการปฎิรูปภาคการเกษตรของรัฐบาลที่ถูกพัฒนาร่วมกันโดยทั้ง 9 กระทรวง และองค์กรหนึ่งแห่งภายใต้สำนักนายกรัฐมนตรีเมื่อวันพุธที่ผ่านมา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ 10 องค์กรได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจ (MoU) ในโครงการพัฒนาฐานข้อมูลเกษตรกรกลาง (Farmer ONE)อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
ไทยคุมเข้มปัญหาลักลอบนำเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์
เมื่อวันพุธที่ผ่านมา นายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กล่าวกับสื่อมวลชนว่า ประเทศไทยเตรียมใช้มาตรการที่รุนแรงยิ่งขึ้นในการห้ามใช้ขยะอิเล็กทรอนิกส์ และขยะพลาสติกที่ลักลอบนำเข้าจากต่างประเทศโดยนายวราวุฒิกล่าวว่า “ทางกระทรวงมีความจริงจังในการตอบโต้การนำเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่ลักลอบนำเข้ามาในประเทศไทย” พร้อมกล่าวว่า “นี่จะเป็นสิ่งที่ดีในระยะยาวต่อประเทศ เนื่องจากขยะอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวจะเป็นตัวการทำให้สิ่งแวดล้อมแย่ลง”อ่านต่อ ...
การทำลายวงจรฝุ่นพิษ PM2.5
ประเทศไทยมีชื่อเสียงด้านการตอบสนองแบบเฉพาะกิจต่อปัญหาที่เกิดขึ้นและคาดการณ์ล่วงหน้าได้ นับตั้งแต่น้ำท่วมตามฤดูกาลและภัยแล้งไปจนถึงอุบัติเหตุบนท้องถนนในช่วงวันหยุด ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาหมอกควันที่เกิดจากฝุ่นละอองขนาดเล็กที่รู้จักกันในชื่อ PM2.5 ที่สร้างปัญหาต่อสุขภาพได้กลายเป็นอีกหนึ่งภัยคุกคามที่คาดการณ์ได้ ซึ่งรัฐบาลได้กำหนดมาตรการ “ระยะยาว” ถึงแม้ว่าสิ่งเหล่านี้ดูเหมือนจะกว้างเกินไปอ่านต่อ ...
เศรษฐกิจแบบหมุนเวียนจะสามารถแก้ปัญหาขยะพลาสติกล้นโลก
พวกเรากำลังจมอยู่ในกองขยะพลาสติก หากเราไม่ยอมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ภายในปี พ.ศ.2593 ขยะพลาสติกจะมีปริมาณมากกว่าปลาในมหาสมุทร การแก้วิกฤติครั้งนี้ทำให้ต้องดำเนินการแก้ไขมากกว่าแค่ห้ามใช้หลอดพลาสติก โดยต้องเปลี่ยนกรอบความคิด ต้องนำการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเชิงลึกมาปรับใช้กับรูปแบบการผลิตและการบริโภคพลาสติก เพื่อที่จะย้ายออกจากระบบเศรษฐกิจเดิมที่เป็นเส้นตรงคือ “Take-Make-Use-Dispose” ไปสู่ “closed-loop” อย่างเศรษฐกิจแบบหมุนเวียน อ่านต่อ ...